แทรก/แก้ไข ตาราง
Call Us
02 612 9230-32, 080 064 8000
Member Login
Login
Forgot Password?  Register
 
Testimonial
" ออกมาเป็นที่พอใจมากคะได้สเป็คสีที่ระบุไว้เลยคะ แถมเจ้าหน้าที่ก็ใจดีคะ ทำให้ได้หมดทุกอย่างคะ บริการดีมาก กันเอง "
คุณเจ เจ้าของร้านเพชรทองเอราวัณเยาวราช
คู่มือการใช้งาน MakeWebEasy
แทรก/แก้ไข ตาราง  กลับหน้าหมวดหมู่คู่มือ
คำสั่งสำหรับแทรกและแก้ไข ตาราง
ใช้สำหรับการแทรกตารางสำหรับใส่เนื้อหา การสร้างเนื้อหาเว็บไซต์ แนะนำว่าควรสร้างตารางไว้ ที่ภายในเนื้อหาทุกเพจ เนื่องจากจะทำให้เราสามารถควบคุมเนื้อหา ให้อยู่ในหน้าจอที่กำหนดได้

วิธีใช้งานคำสั่งสำหรับแทรกและแก้ไขตาราง

1. การแทรกตารางในเอกสาร คลิกตำแหน่งหมายเลข1
 

หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก บอกเครื่องมือการสร้างตารางในบทความ



2. จากนั้นจะมี Pop-Up ขึ้นมาแล้วใส่คุณสมบัติต่างๆ ของตารางตามตำแหน่งหมายเลข1-11 (ใส่ระยะแนวตั้งเท่ากับระยะแนวนอนเท่ากับ 0 เพื่อให้เนื้อหาและรูปภาพในตารางไม่ชิดกันเกินไป) เมื่อใส่ตามต้องการเสร็จ คลิกตกลงตามหมายเลข12


หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก บอกจำนวนแถวของตาราง
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอก บอกจำนวนสดมน์หรือคอลัมน์ของตาราง
หมายเลข 3 คือ ตำแหน่งบอก บอกความกว้างทั้งหมดของตาราง
หมายเลข 4 คือ ตำแหน่งบอก บอกความสูงทั้งหมดของตาราง
หมายเลข 5 คือ ตำแหน่งบอก บอกการกำหนดตัวหัวข้อหลักหรือ Header ของตาราง
หมายเลข 6 คือ ตำแหน่งบอก บอกขนาดเส้นขอบของตาราง
หมายเลข 7 คือ ตำแหน่งบอก บอกระยะแนวนอน
หมายเลข 8 คือ ตำแหน่งบอก บอกระยะแนวตั้ง
หมายเลข 9 คือ ตำแหน่งบอก บอกการจัดวางบนหน้าเว็บไซต์
หมายเลข 10 คือ ตำแหน่งบอก บอกหัวเรื่องของตาราง
หมายเลข 11 คือ ตำแหน่งบอก บอกข้อความสรุปความของตาราง
หมายเลข 12 คือ ตำแหน่งบอก บอกปุ่มบันทึก กรณีเมื่อทำการตั้งค่าระบบตามต้องการเรียบร้อย



3. ตารางที่ได้ ดังภาพ
 





4. ถ้าสร้างตารางมาแล้ว ต้องการเพิ่ม ลบ แก้ไข จำนวนแถวตารางให้ทำการคลิกเมาส์วางเคอร์เซอร์บนตารางก่อน จากนั้น
คลิกขวาที่ตาราง และไปที่ตำแหน่งหมายเลข1 สามารถทำการแทรกตารางก่อนหน้า แทรกตารางต่อ หรือสามารถลบแถวได้ ตามตำแหน่งหมายเลข2-4 ดังภาพ
 

หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก บอกสิ่งที่สามารถทำการแก้ไขได้ของแถว
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอก บอกการแทรกแถวก่อนหน้าบรรทัดที่วางเคอร์เซอร์
หมายเลข 3 คือ ตำแหน่งบอก บอกการแทรกแถวบรรทัดล่างที่วางเคอร์เซอร์
หมายเลข 4 คือ ตำแหน่งบอก บอกการลบแถว สามารถลบแถวที่ไม่ต้องการได้




5. ตารางที่ได้ ดังภาพ
 





6. ถ้าสร้างตารางมาแล้ว ต้องการเพิ่ม ลบ แก้ไข จำนวนช่องในตารางให้ทำการคลิกเมาส์วางเคอร์เซอร์บนตารางก่อน จากนั้น
คลิกขวาที่ตาราง และไปที่ตำแหน่งหมายเลข1 สามารถทำการแทรกช่องก่อนหน้า แทรกตารางต่อ หรือสามารถลบแถวได้ ตามตำแหน่งหมายเลข2-10 ดังภาพ
 

หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก บอกสิ่งที่สามารถทำการแก้ไขได้ของช่องตาราง
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอก บอกการแทรกช่องตารางใหม่ก่อนหน้าช่องตารางที่วางเคอร์เซอร์
หมายเลข 3 คือ ตำแหน่งบอก บอกการแทรกช่องตารางใหม่หลังช่องตารางที่วางเคอร์เซอร์
หมายเลข 4 คือ ตำแหน่งบอก บอกการลบช่อง สามารถลบช่องที่ไม่ต้องการได้
หมายเลข 5 คือ ตำแหน่งบอก บอกการรวมผสานช่องตารางของช่องตารางที่ทำแถบฟ้าด้วยกัน
หมายเลข 6 คือ ตำแหน่งบอก บอกการรวมผสานช่องตารางของช่องตารางที่วางเคอร์เซอร์กับช่องตารางทางด้านขวา
หมายเลข 7 คือ ตำแหน่งบอก บอกการรวมผสานช่องตารางของช่องตารางที่วางเคอร์เซอร์กับช่องตารางทางด้านล่าง
หมายเลข 8 คือ ตำแหน่งบอก บอกการเพิ่มช่องในแนวตรง (ข้างขวาของช่องที่มีเคอร์เซอร์) ในช่องเดิม
หมายเลข 9 คือ ตำแหน่งบอก บอกการเพิ่มช่องในแนวนอน (ข้างล่างของช่องที่มีเคอร์เซอร์) ในช่องเดิม
หมายเลข 10 คือ ตำแหน่งบอก บอกคุณสมบัติของช่องตาราง



6.1. ต้องการดูคุณสมบัติของช่องตาราง คลิกขวา > เลือกช่องตาราง > เลือก Cell Properties จะมี Pop-Up ขึ้นมา
สามารถตั้งค่าต่างๆได้ตามตำแหน่งหมายเลข1-12 ดังภาพ
 

หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก บอกความกว้างของช่องตาราง
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอก บอกความสูงของช่องตาราง
หมายเลข 3 คือ ตำแหน่งบอก บอกหน่วยขอความกว้างและความสูง
หมายเลข 4 คือ ตำแหน่งบอก บอกชนิดของช่องตารางนั้นๆ
หมายเลข 5 คือ ตำแหน่งบอก บอกการใช้งานการตัดคำ
หมายเลข 6 คือ ตำแหน่งบอก บอกการจัดตั้งตำแหน่งในแนวตั้ง
หมายเลข 7 คือ ตำแหน่งบอก บอกการจัดตั้งตำแหน่งในแนวนอน
หมายเลข 8 คือ ตำแหน่งบอก บอกจำนวนคร่อมของแถว
หมายเลข 9 คือ ตำแหน่งบอก บอกจำนวนคร่อมของคอลัมน์
หมายเลข 10 คือ ตำแหน่งบอก บอกสีของ Background
หมายเลข 11 คือ ตำแหน่งบอก บอกสีของขอบช่องตาราง
หมายเลข 12 คือ ตำแหน่งบอก บอกปุ่มบันทึก กรณีเมื่อทำการตั้งค่าระบบตามต้องการเรียบร้อย



6.2. การใส่สี Background ของช่องตาราง ให้คลิกเลือกตามที่หมายเลข1 และการใส่สีขอบของช่องตาราง ให้คลิกเลือกหมายเลข2 และปรับสีตามต้องการ เมื่อเลือกสีที่ต้องการได้แล้วกดตกลง
 

หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก บอกช่องเลือกสี Background ของช่องตาราง
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอก บอกช่องเลือสีขอบของตาราง
หมายเลข 3 คือ ตำแหน่งบอก บอกช่องสีต่างๆ
หมายเลข 4 คือ ตำแหน่งบอก บอกปุ่มบันทึก กรณีเมื่อทำการตั้งค่าระบบตามต้องการเรียบร้อย



7. ตารางที่ได้ ดังภาพ
 





8. บางทีเมื่อเราสร้างตารางจะมีเส้นขอบติดมาด้วย แต่ถ้าเราไม่ต้องการสามารถเอาออกได้ โดย คลิกขวา > คุณสมบัติตาราง > ขนาดของขอบรูป (Border) ใส่เลข 0 ลงไป ตามตำแหน่งในภาพหมายเลข1-3
 

หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก บอกคุณสมบัติต่างๆของตาราง
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอก บอกขนาดเส้นขอบของตาราง
หมายเลข 3 คือ ตำแหน่งบอก บอกปุ่มบันทึก กรณีเมื่อทำการตั้งค่าระบบตามต้องการเรียบร้อย



9. ตัวอย่างการแสดงผล คำสั่งสำหรับแทรกและแก้ไข ตาราง  ดังภาพ
 





10. ตัวอย่างการแสดงผลบนเว็บไซต์ ดังภาพ
 
 กลับหน้าหมวดหมู่คู่มือ
หัวข้ออื่นๆ ในหมวดหมู่นี้